บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 27 พฤศจิกายน พ.ศ.2557
ครั้งที่ 15 กลุ่มเรียน 101 (วันพฤหัสบดี ตอนเช้า)
ครั้งที่ 15 กลุ่มเรียน 101 (วันพฤหัสบดี ตอนเช้า)
เวลาเข้าเรียน 08:30 – 12:20 น. ห้อง 233 อาคาร 2
อาจารย์ให้นักศึกษาออกมานำเสนอวิจัย และโทรทัศน์ครูให้ครบทุกคน
1.การสร้างชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (Construction of activity packages to develop science process skills for preschool children)
2.ผลการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์นอกชั้นเรียนที่มีต่อทักษะการสังเกตของเด็กปฐมวัย
(Effects of outdoor experience in sciented observation skills of young children)
3.การคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ (Reasoning thinking of preschoolchildren though scientific basic skills)
4.ผลของกิจกรรมการทดลองที่มีผลต่อทักษะวิทยาศาสตร์ ด้านการสังเกตและการจำแนกของเด็กปฐมวัย (Effect of experimental activities on scientific skills in observantion and classification of preschool children)
การนำไปประยุกต์ใช้
อาจารย์ให้นักศึกษาออกมานำเสนอวิจัย และโทรทัศน์ครูให้ครบทุกคน
1.การสร้างชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (Construction of activity packages to develop science process skills for preschool children)
2.ผลการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์นอกชั้นเรียนที่มีต่อทักษะการสังเกตของเด็กปฐมวัย
(Effects of outdoor experience in sciented observation skills of young children)
3.การคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ (Reasoning thinking of preschoolchildren though scientific basic skills)
4.ผลของกิจกรรมการทดลองที่มีผลต่อทักษะวิทยาศาสตร์ ด้านการสังเกตและการจำแนกของเด็กปฐมวัย (Effect of experimental activities on scientific skills in observantion and classification of preschool children)
สรุปเป็น Mind Map ดังนี้
สรุป โทรทัศน์ครู
สามารถนำกิจกรรมทุกกิจกรรมที่เพื่อนนำเสนอไปปรับใช้ในการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ได้ หรือเราสามารถดัดแปลงสื่อ อุปกรณ์ให้มีความหลากหลายรูปแบบที่แปลกใหม่ไปจากเดิม คือต่อยอด สร้างสรรค์ มากกว่าที่เพื่อนนำเสนอ และการแนะนำตัววิธีการพูดสามารถนำทักษะการพูดไปใช้ในรายวิชาอื่นๆได้
เทคนิควิธีการสอนของอาจารย์
การสอนโดยใช้คำถามแบบปลายเปิด โดยตั้งคำถามให้เด็กตอบอยู่เสมอๆ เพื่อกระตุ้นให้เด็กเกิดทักษะการคิดเพื่อแก้ไขปัญหาค้นหาคำตอบ และเพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียน แลกเปลี่ยนความคิดซึ่งกันและกัน ให้นักศึกษาค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยจากโทรทัศน์ครู และการให้คำแนะนำเสริมเพิ่มเติมในแต่ละกิจกรรมในผลงานวิจัยนั้นๆ และสอนวิธีการพูดนำเสนอการกล่าวแนะนำตัวที่ถูกต้องน่าฟัง
การประเมินผล (Evaluation)
- การประเมินตนเอง(Me) - การแต่งกายสะอาดเรียบร้อยถูกระเบียบ เข้าห้องเรียนตรงต่อเวลา สนใจในการนำเสนอของเพื่อนๆ สนใจกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่เพื่อนนำมาเสนอ และจดบันทึกข้อมูลต่างๆ
- การประเมินเพื่อน(Friend) - การแต่งกายสะอาดเรียบร้อยถูกระเบียบ ทุกคนต่างตั้งใจและให้ความสนใจเกี่ยวกับการนำเสนอวิจัยหน้าชั้นเรียน ทุกคนช่วยกันตอบเวลาที่อาจารย์ถาม และเพื่อนๆที่นำเสนอมีกิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยที่น่าสนใจมากมาย
- การประเมินอาจารย์(Teachers) - การแต่งกายสะอาดสุภาพ เข้าสอนตรงต่อเวลา เวลาที่เพื่อนนำเสนอวิจัย หรือโทรทัศน์ครู ทั้งกิจกรรมต่างๆ อาจารย์ให้ความสำคัญและเก็บรายละเอียดแล้วทบทวนกับนักศึกษาว่ากิจกรรมนี้ทำอย่างไร เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ตรงไหน พร้อมทั้งให้คำแนะนำเพิ่มเติมเกี่ยวกับกิจกรรมนั้นๆ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น